วันพฤหัสบดีที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2559

คู่มือเตรียมสอบ

จำหน่ายคู่มือเตรียมสอบกรมชลประทาน ทุกตำแหน่งอัพเดทใหม่ล่าสุด























สนใจสอบถามและสั่งซื้อติดต่อ คุณนุชจรี 
Tel:090-8134236
ID Line:topsheet1
E-mail:topsheet1@gmail.com




ผลงานลูกค้า

เปิดสอบ ราชการ งานราชการ หางาน สอบราชการ พนักงานราชการ สอบบรรจุ หางาน รับสมัครงาน สอบ กพ. อบต. สอบภาค ก สอบภาค ข รับสมัครงาน ศูนย์รวมงานราชการ
ศูนย์หนังสือสอบ sheetchula เป็นที่รวบรวมแนวข้อสอบรับราชการ ทุกหน่วยงาน และนี่คือผลงาน ความคิดเห็นของลูกค้าที่ซื้อข้อสอบจากเราไป บางส่วน






1
2
3
4
5
6
7
8



บริการต่างๅ

บริการต่างๆ

บริการต่างๆ



ติดตาม Facebook

ติดตาม Facebook

Youtube

แนวข้อสอบกรมชลประทาน




รายละเอียดวิชาที่สอบ #
แนวข้อสอบกรมชลประทาน
1 ความรู้เกี่ยวกับกรมชลประทาน
2 แนวข้อสอบเกี่ยวกับกรมชลประทาน
3 กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการกรมชลประทาน
4 แนวข้อสอบระเบียบกรมชลประทานว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของราชการ

+++ อ่านประกาศเพิ่มเติม และลิ้งค์สมัครที่ http://www.งานราชการไทย.com/
+++ กดติดตามรับข้อสอบที่ : http://line.me/ti/p/%40awr8388d
+++ กดถูกใจเพื่อรับแนวข้อสอบ
กรมชลประทาน
ที่ https://www.facebook.com/611592672377681

แนวข้อสอบ

แจกแนวข้อสอบที่ออกบ่อยกรมชลประทาน

1.กรมชลประทานมีอายุครบรอบกี่ปี ในปี 2557
ก. 110 ปี
ข. 111 ปี
ค. 112 ปี*
ง. 113 ปี
 2.การสถาปนาเป็นกรมชลประทานเกิดขึ้นในรัชกาลที่เท่าใด
ก. รัชกาลที่ 4
ข. รัชกาลที่ 5
ค. รัชกาลที่ 6*
ง. รัชกาลที่ 7

3.PMQA คืออะไร
ก. รางวัลเมขลา
ข.รางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ*
ค.รางวัลการบริหารดีเด่นแห่งเอเชีย
ง.รางวัลความเป้นเลิศ

4.water for all หมายถึง
ก.น้ำเพื่อสรรพสิ่ง*
ข.น้ำเพื่อชีวิต
ค.น้ำเพื่อโลก
ง.น้ำเพื่อประชาชน

5.สายด่วนกรมชลประทานคือหมายเลขใด
ก. 1456
ข. 1406
ค. 1560
ง. 1460*

6.กรมชลประทานมีชื่อภาษาอังกฤษว่าอย่างไร
ก. Waterworks Authority
ข.Royallrrigation Department*
ค. Department Thailand
ง. Authority Meteorological

7.ข้อใด ไม่ใช่ ประด็นยุทธศาสตร์ของกรมชลประทาน
ก. การพัฒนาแหล่งน้ำและเพิ่มพื้นที่ชลประทาน
ข.การพัฒนาแหล่งเพาะปลูก*
ค.การบริหารจัดการน้ำอย่างบูรณาการ
ง.การป้องกันและบรรเทาภัยอันเกิดจากน้ำตามภารกิจ

8.ประเทศไทยมีลุ่มน้ำหลักกี่ลุ่มน้ำ
ก. 25 ลุ่มน้ำ*
ข. 30 ลุ่มน้ำ
ค. 15 ลุ่มน้ำ
ง. 20 ลุ่มน้ำ

9.เขื่อนใดเป็นต้นแบบแห่งการจัดการน้ำ
ก. เขื่อนพระรามหก
ข.เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์*
ค.เขื่อนเจ้าพระยา
ง.เขื่อนชัยนาท

10.เขื่อนใดที่เป็นเขื่อนทดน้ำหรือระบายน้ำขนาดใหญ่
ก. เขื่อนพระรามหก
ข. เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์
ค.เขื่อนเจ้าพระยา *
ง. เขื่อนชัยนาท


1. ใครเป็นผู้วางระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.2526
- คณะรัฐมนตรี

2. ข้อความใดเป็นความหมายของงานสารบรรณตามระเบียบนี้
-การเก็บรักษา , การรับ-การส่ง, การจัดทำ,การยืม,การทำลาย

3. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณที่ถือปฏิบัติในขณะนี้เป็นฉบับ พ.ศ.ใด
- พ.ศ. 2526

4. หนังสือราชการ คือ
- เอกสารที่เป็นหลักฐานในราชการ

5. หนังสือที่ต้องปฏิบัติให้เร็วกว่าปกติ แบ่งเป็นกี่ประเภท
- 3 ประเภท (ด่วน,ด่วนมาก,ด่วนที่สุด)

6. ส่วนราชการใดมีความจำเป็นที่จะต้องปฏิบัติงานสารบรรณนอกเหนือไปจากที่กำหนดไว้ในระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.2526 ให้ขอทำความตกลงกับใคร
- ปลัดสำนักนกยกรัฐมนตรี

7. หนังสือราชการตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ มีกี่ชนิด
- 6 ชนิด

8. หนังสือราชการคือ เอกสารที่เป็นหลักฐานในราชการมีกี่ประเภท
- 6 ประเภท

9. ถ้าผู้รับหนังสือเป็นรัฐมนตรีคำขึ้นต้นใช้คำว่าอะไร
- เรียน (คำลงท้าย..ขอแสดงความนับถือ)

10. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2548 ให้ใช้บังคับตั้งแต่เมื่อใด
- วันที่ 24 กันยายน 2548

11. หนังสือที่ติดต่อราชการเป็นแบบพิธีได้แก่หนังสือชนิดใด
- หนังสือภายนอก

12. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.2526 ใช้บังคับแล้ว ให้ยกเลิกฉบับใดบ้าง
- ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2506
- ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการลงชื่อในหนังสือราชการ พ.ศ. 2507
- ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการลงชื่อในหนังสือราชการ ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2516

13. งานสารบรรณมีความหมายตรงกับอะไร
- งานที่เกี่ยวกับการบริหารงานเอกสาร เริ่มตั้งแต่การจัดทำ การรับ การส่ง การเก็บรักษา การยืม จนถึงการทำลาย

14. “หนังสือ” ตามระเบียบนี้ หมายความว่าอะไร
- หนังสือราชการ

15. หนังสือประทับตราใช้สำหรับเรื่องใด
- การเตือนเรื่องที่ค้าง
- การขอรายละเอียดเพิ่มเติม
- การแจ้งผลงานให้ผุ้เกี่ยวข้องทราบ

16. เจ้าของเรื่องจะเก็บหนังสือประเภทใดได้บ้าง
- เจ้าของเรื่องสามารถเก็บหนังสือทั้งที่เป็นต้นฉบับและสำเนาซึ่งเป็นหนังสือที่อยู่ในระหว่างปฏิบัติและหนังสือที่ปฏิบัติการเสร็จแล้วแต่ต้องเก็บไว้เพื่อใช้ในการตรวจสอบ

17. การทำสำเนาในระเบียบงานสารบรรณ พ.ศ.2526 ประกอบด้วยอะไรบ้าง
- สำเนาคู่ฉบับ หนังสือราชการเป็นหลักฐานที่สำคัญในราชการระเบียบงานสารบรรณจึงบังคับให้มีสำเนาคู่ฉบับไว้อย่างน้อย 1 ฉบับ
- การทำสำเนา กระทำได้หลายวิธี เช่น ถ่าย อัด คัด เป็นต้น
- เอกสารทางราชการจำเป็นต้องมีสำเนาซึ่งเป็นเรื่องที่ต้องส่งให้ผู้เกี่ยวข้องทราบหลายคน

18. ผู้ที่จะทำงานสารบรรณได้ดีจำเป็นต้องรู้งานด้านธุรการในลักษณะใดบ้าง
- มีความรู้ด้านภาษาเป็นอย่างดี
- มีการติดต่อ โต้ตอบและประสานงานที่ดี
- รู้จักกาลเทศะ ความควรไม่ควร

19. หนังสือสั่งการ มีกี่ชนิด

- 3 ชนิด ได้แก่ คำสั่ง, ระเบียบ, ข้อบังคับ

20. หนังสือประชาสัมพันธ์มีกี่ชนิด

-  3 ชนิด ได้แก่ ประกาศ, แถลงการณ์, ข่าว

21. หนังสือรับรองรายงานการประชุมและหนังสืออื่นจัดอยู่ในหนังสือชนิดใด
- หนังสือที่เจ้าหน้าที่จัดทำขึ้นหรือรับไว้เป็นหลักฐานในราชการ

22. การอ้างหนังสือที่มีทั้งชั้นความเร็วและชั้นความลับนั้น ข้อปฏิบัติที่ถูกต้องคือ
- อ้างชั้นความลับก่อนชั้นความเร็ว

23. หนังสือราชการที่จัดทำขึ้นให้มีสำเนาคู่ฉบับไว้อย่างน้อยกี่ฉบับ
- 1 ฉบับ

24. “อิเล็กทรอนิกส์” หมายความว่า
- การประยุกต์ใช้วิธีการทางอิเล็กตรอนไฟฟ้า คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าหรือวิธีอื่นใดในลักษณะคล้ายกัน
- การประยุกต์ใช้วิธีการทางแสง วิธีการทางแม่เหล็ก หรืออุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับการประยุกต์ใช้วิธีต่างๆเช่นว่านั้น

25. หนังสือประทับตราคือ
- หนังสือที่ใช้ประทับตราแทนการลงชื่อของหัวหน้าส่วนราชการระดับกรมขึ้นไป โดยให้หัวหน้าส่วนราชการระดับกองหรือผู้ที่ได้รับมอบหมายจากหัวหน้าส่วนราชการระดับกรมขึ้นไป เป็นผู้รับผิดชอบลงชื่อย่อกำกับตรา

26. หนังสือประทับตราให้ใช้ได้ทั้งระหว่างส่วนราชการกับส่วนราชการ และระหว่างส่วนราชการกับบุคคลภายนอก เฉพาะกรณีที่ไม่ใช่เรื่องสำคัญ ได้แก่
- การขอรายละเอียดเพิ่มเติม
- การส่งสำเนาหนังสือ สิ่งของ เอกสาร หรือบรรณสาร
- การตอบรับทราบที่ไม่เกี่ยวกับราชการสำคัญหรือการเงิน
- การแจ้งผลงานที่ได้ดำเนินการไปแล้วให้ส่วนราชการที่เกี่ยวข้องทราบ
- การเตือนเรื่องที่ค้าง
- เรื่องซึ่งหัวหน้าส่วนราชการระดับกรมขึ้นไปกำหนด โดยทำเป็นคำสั่ง ให้ใช้หนังสือประทับตรา

27.  ให้เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการเก็บหนังสือสำรวจหนังสือที่มีอายุครบการเก็บในปีนั้น และทำบัญชีหนังสือขอทำลายเสนอหัวหน้าส่วนราชการ ภายในกี่วัน
- 60 วัน หลังจากวันสิ้นปีปฏิทินนั้น

28. หนังสือที่ต้องปฏิบัติให้เร็วกว่าปกติ เป็นหนังสือที่ต้องจัดส่งและดำเนินการทางสารบรรณด้วยความรวดเร็วเป็นพิเศษ แบ่งเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง

-  3 ประเภท ได้แก่ - ด่วนที่สุด (ให้เจ้าหน้าที่ปฏิบัติในทันทีที่ได้รับหนังสือนั้น)

   - ด่วนมาก (ให้เจ้าหน้าที่ปฏิบัติโดยเร็ว

  - ด่วน (ให้เจ้าหน้าที่ปฏิบัติเร็วกว่าปกติ เท่าที่จะทำได้)

29. หนังสือที่ต้องปฏิบัติให้เร็วกว่าปกติ ต้องระบุชั้นความเร็ว และขนาดตัวอักษร อย่างไร
- ให้ระบุชั้นความเร็วด้วยตัวอักษรสีแดง ขนาดไม่เล็กกว่าตัวพิมพ์โป้ง 32 พอยท์ ให้เห็นได้ชัดบนหนังสือและบนซอง

30. กรณีต้องการให้หนังสือส่งถึงผู้รับภายในเวลาที่กำหนด ควรระบุอะไรบ้าง
- ระบุคำว่า “ด่วนภายใน” แล้วลง วัน เดือน ปี และกำหนดเวลาที่ต้องการให้หนังสือนั้นไปถึงผู้รับ กับให้เจ้าหน้าที่ส่งถึงผู้รับซึ่งระบุบนหน้าซองภายในเวลาที่กำหนด

31. “ระบบงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์” หมายความว่า
- การรับส่งข้อมูลข่าวสารหรือหนังสือผ่านระบบสื่อสารด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์

32. หนังสือที่ใช้ติดต่อราชการระหว่างส่วนราชการหรือส่วนราชการกับบุคคลภายนอกคือหนังสือใด
- หนือสือภายนอก
-หนังสือประทับตรา

33. ผู้มีอำนาจให้บุคคลภายนอกยืมหนังสือคือใคร
- กระทำมิได้

34. ผู้มีอำนาจให้บุคคลภายนอกดูหรือคัดลอกหนังสือ คือใคร
- หัวหน้าส่วนราชการระดับกองขึ้นไป หรือผู้ทีได้รับมอบหมาย

35. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.2526 ใช้บังคับแก่ใคร
- ใช้บังคับแก่ส่วนราชการ ( ส่วนราชการใดมีความจำเป็นที่จะต้องปฏิบัติงานสารบรรณนอกเหนือไปจากที่ได้กำหนดไว้ในระเบียบนี้ ให้ขอทำความตกลงกับผู้รักษาการตามระเบียบนี้)

36. ส่วนราชการ หมายความว่าอย่างไร
- กระทรวง ทบวง กรม สำนักงาน หรือหน่วยงานใดของรัฐ ทั้งในบริหารส่วนกลาง ราชการบริหารส่วนภูมิภาค ราชการบริหารส่วนท้องถิ่น หรือในต่างประเทศ และให้หมายความถึงคณะกรรมการด้วย

37. คณะกรรมการ หมายความว่าอย่างไร
- คณะบุคคลที่ได้รับมอบหมายจากทางราชการให้ปฏิบัติงานในเรื่องใดๆ และให้หมายรวมถึงคณะอนุกรรมการ คณะทำงาน หรือคณะบุคคลอื่นที่ปฏิบัติงานในลักษณะเดียวกัน

38. คณะกรรมการดำเนินการทำลายหนังสือประกอบด้วยบุคคลอย่างน้อยกี่คน
- 3 คน (ประธานกรรมการ 1 คน และกรรมการอีกอย่างน้อย 2 คน)

39. คณะกรรมการทำลายหนังสือ โดยปกติให้แต่งตั้งจากข้าราชการตั้งแต่ระดับใด
- ระดับ 3 หรือเทียบเท่าขึ้นไป

40. ใครเป็นผู้แต่งตั้งคณะกรรมการทำลายหนังสือ

- หัวหน้าส่วนราชการระดับกรม

โหลดข้อสอบพร้อมเฉลยเพิ่มที่ : www.topsheetonline.com
สอบถาม/สั่งซื้อแนวข้อสอบกรมชลประทานทุกตำแหน่ง
ติดต่อ Tel : 090-8134236  ,Line ID : topsheet1




J2001 เจ้าพนักงานธุรการ กรมชลประทาน
1 ความรู้เกี่ยวกับกรมชลประทาน
2 แนวข้อสอบเกี่ยวกับกรมชลประทาน
3 กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการกรมชลประทาน
4 แนวข้อสอบระเบียบกรมชลประทานว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของราชการ
5 การปฏิบัติงานสารบรรณและธุรการทั่วไป
6 สรุปกฎหมายระเบียบงานสารบรรณ พ.ศ.2526 และแก้ไขเพิ่มเติม
7 แนวข้อสอบกฎหมายระเบียบงานสารบรรณ ชุด1
8 แนวข้อสอบกฎหมายระเบียบงานสารบรรณ ชุด2
9 แนวข้อสอบเจ้าพนักงานธุรการ
10 การเตรียมตัวสอบภาค ค. และสอบสัมภาษณ์เข้าทำงานกรมชลประทาน
MP3 - กรมชลประทาน

J2002 นายช่างศิลป์  กรมชลประทาน
1 ความรู้เกี่ยวกับกรมชลประทาน
2 แนวข้อสอบเกี่ยวกับกรมชลประทาน
3 กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการกรมชลประทาน
4 แนวข้อสอบระเบียบกรมชลประทานว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของราชการ
5 ความรู้เกี่ยวกับการออกแบบกราฟิก
6 หลักการออกแบบ
7 แนวข้อสอบองค์ประกอบของศิลปะ
8 แนวข้อสอบการเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
9 แนวข้อสอบความรู้ทางศิลปศึกษา ชุด 1
10 แนวข้อสอบความรู้ทางศิลปศึกษา ชุด 2
11 การเตรียมตัวสอบภาค ค. และสอบสัมภาษณ์เข้าทำงานกรมชลประทาน
MP3 - กรมชลประทาน

J2003 นายช่างภาพ กรมชลประทาน
1 ความรู้เกี่ยวกับกรมชลประทาน
2 แนวข้อสอบเกี่ยวกับกรมชลประทาน
3 กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการกรมชลประทาน
4 แนวข้อสอบระเบียบกรมชลประทานว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของราชการ
5 การผลิตสื่อวีดิทัศน์เพื่อการประชาสัมพันธ์
6 แนวข้อสอบความเข้าใจในการถ่ายภาพเบื้องต้น
7 การถ่ายภาพ การถ่ายวีดีทัศน์ เครื่องมือ อุปกรณ์สมัยใหม่
8 เทคโนโลยีการถ่ายภาพและวีดีทัศน์
9 การเตรียมตัวสอบภาค ค. และสอบสัมภาษณ์เข้าทำงานกรมชลประทาน
MP3 - กรมชลประทาน

J2004 นายช่างโยธา กรมชลประทาน
1 ความรู้เกี่ยวกับกรมชลประทาน
2 แนวข้อสอบเกี่ยวกับกรมชลประทาน
3 กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการกรมชลประทาน
4 แนวข้อสอบระเบียบกรมชลประทานว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของราชการ
5 แนวข้อสอบความรู้อุทกวิทยา
6 แนวข้อสอบการควบคุม การบริหารงานก่อสร้าง
7 การเตรียมงานก่อสร้าง
8 การสำรวจเพื่อการก่อสร้าง (Construction Survey)
9 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการสำรวจ
10 การออกแบบโครงสร้าง (structural design)
12 ความรู้เกี่ยวกับงานโยธา
12 แนวข้อสอบนายช่างโยธา  ชุดที่  1
13 แนวข้อสอบนายช่างโยธา  ชุดที่  2
MP3 - กรมชลประทาน

J2005 นายช่างชลประทาน กรมชลประทาน
1 ความรู้เกี่ยวกับกรมชลประทาน
2 แนวข้อสอบเกี่ยวกับกรมชลประทาน
3 กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการกรมชลประทาน
4 แนวข้อสอบระเบียบกรมชลประทานว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของราชการ
5 แนวข้อสอบหลักการชลศาสตร์
6 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการสำรวจ
7 การวิเคราะห์โครงสร้าง Structural Analysis
8 การออกแบบโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก RC Design
9 แนวข้อสอบการควบคุม การบริหารงานก่อสร้าง
10 หลักการชลประทานเบื้องต้น
11 การประมาณราคาก่อสร้าง
12 งานโครงสร้างและคอนกรีต
MP3 - กรมชลประทาน

J2006 นายช่างเครื่องกล กรมชลประทาน
1 ความรู้เกี่ยวกับกรมชลประทาน
2 แนวข้อสอบเกี่ยวกับกรมชลประทาน
3 กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการกรมชลประทาน
4 แนวข้อสอบระเบียบกรมชลประทานว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของราชการ
5 การบริหารงานการซ่อมบำรุงรักษาเครื่องจักกล
6 ความรู้พื้นฐานทางด้านช่างเครื่องกล
7 หลักการทำงานของเครื่องยนต์
8 แนวข้อสอบความรู้ด้านเครื่องยนต์
9 แนวข้อสอบช่างเครื่องกล
10 หลักการทำงานของเตาหล่อโลหะ
11 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบไฟฟ้า
MP3 - กรมชลประทาน

J2007 นายช่างไฟฟ้า กรมชลประทาน
1 ความรู้เกี่ยวกับกรมชลประทาน
2 แนวข้อสอบเกี่ยวกับกรมชลประทาน
3 กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการกรมชลประทาน
4 แนวข้อสอบระเบียบกรมชลประทานว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของราชการ
5 การติดตั้งระบบไฟฟ้า Electrical installation
6 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบไฟฟ้า
7 แนวข้อสอบเรื่องงานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น
8 มอเตอร์ไฟฟ้า electric motor
9 อุปกรณ์การออกแบบระบบไฟฟ้า
10 แนวข้อสอบช่างไฟฟ้า
11 การเตรียมตัวสอบภาค ค. และสอบสัมภาษณ์เข้าทำงานกรมชลประทาน

MP3 - กรมชลประทาน

J2008 นายช่างไฟฟ้าสื่อสาร กรมชลประทาน
1 ความรู้เกี่ยวกับกรมชลประทาน
2 แนวข้อสอบเกี่ยวกับกรมชลประทาน
3 กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการกรมชลประทาน
4 แนวข้อสอบระเบียบกรมชลประทานว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของราชการ
5 การติดตั้งระบบไฟฟ้า Electrical installation
6 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบไฟฟ้า
7 ความรู้เรื่องไฟฟ้าสื่อสาร_ Electrical Communication
8 อุปกรณ์การออกแบบระบบไฟฟ้า
9 การเตรียมตัวสอบภาค ค. และสอบสัมภาษณ์เข้าทำงานกรมชลประทาน

MP3 - กรมชลประทาน

J2009 นายช่างสำรวจ กรมชลประทาน
1 ความรู้เกี่ยวกับกรมชลประทาน
2 แนวข้อสอบเกี่ยวกับกรมชลประทาน
3 กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการกรมชลประทาน
4 แนวข้อสอบระเบียบกรมชลประทานว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของราชการ
5 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการสำรวจ
6 Surveying Highway การหาพิกัด ระดับออกแบบโค้ง
7 ความรู้เรื่อง การเขียน ย่อ ขยาย  รูป แผนที่
8 แนวข้อสอบความรู้ด้านแผนที่ การสำรวจ การวัดมุม การหาพิกัด ขนาดของภูมิประเทศ
9 แนวข้อสอบวิชาแผนที่และภูมิศาสตร์
10 การแปลภาพถ่ายทางอากาศ
11 แนวข้อสอบความรู้เบื้องต้นของระบบภูมิสารสนเทศ

MP3 - กรมชลประทาน

J2010 นายช่างเขียนแบบ กรมชลประทาน
1 ความรู้เกี่ยวกับกรมชลประทาน
2 แนวข้อสอบเกี่ยวกับกรมชลประทาน
3 กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการกรมชลประทาน
4 แนวข้อสอบระเบียบกรมชลประทานว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของราชการ
5 การออกแบบสถาปัตยกรรม(ถาม-ตอบ)
6 แนวข้อสอบงานเขียนแบบสถาปัตยกรรม
7 ความรู้เบื้องต้นเรื่องเทคนิคการเขียนแบบ
8 แนวข้อสอบการเขียนแบบและการวิเคราะห์โครงสร้าง
9 แนวข้อสอบเขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น
10 แนวข้อสอบการเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
11 การออกแบบและตัวอย่างรายการคำนวณ
12 งานระบบภายในอาคาร (ถาม-ตอบ)
13 การเตรียมตัวสอบภาค ค. และสอบสัมภาษณ์เข้าทำงานกรมชลประทาน

MP3 - กรมชลประทาน

ความรู้ทั่วไป

กรมชลประทาน (ประเทศไทย)

กรมชลประทาน เป็นหน่วยงานในกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีหน้าที่จัดให้ได้มาซึ่งน้ำเพื่อกักเก็บรักษา ควบคุม ส่ง ระบาย หรือ แบ่งน้ำเพื่อการเกษตร การพลังงาน การสาธารณูปโภค หรือการอุตสาหกรรม และหมายรวมถึงการป้องกันความเสียหายอันเกิดจากน้ำ กับการคมนาคมทางน้ำซึ่งอยู่ในเขตชลประทาน

ประวัติ

งานชลประทานในประเทศไทยเริ่มขึ้นอย่างจริงจังในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีการขุดลอกคลอง และขุดคลองขึ้นใหม่ในบริเวณที่ราบภาคกลางจำนวนมาก ดำเนินการโดยเอกชน คือบริษัทขุดคลองแลคูนาสยาม (Siam Canals, Lands and Irrigation Company) ได้รับพระบรมราชานุญาตเมื่อ พ.ศ. 2431 เริ่มขุดคลองเมื่อ พ.ศ. 2433 มีระยะเวลาดำเนินการ ตามสัมปทาน 25 ปี
ใน พ.ศ. 2445 ได้ว่าจ้างนายเย โฮมัน วันเดอร์ ไฮเด วิศวกรชลประทานชาวฮอลันดา มาดำเนินงานชลประทานประเทศไทย และทรงแต่งตั้งให้ นายเย โฮมัน เข้ารับราชการ เมื่อวันที่ 13 มิถุนายน 2445 พร้อมทั้งทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตั้ง "กรมคลอง" และทรงแต่งตั้งนาย เย โฮมัน เป็นเจ้ากรมคลองคนแรก เพื่อทำหน้าที่ดูแลทำนุบำรุงคลองต่างๆ ไม่ให้ตื้นเขิน
ต่อมาในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 ได้ทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ ให้จัดตั้ง "กรมทดน้ำ" ขึ้นแทนกรมคลอง เมื่อวันที่ 30 กันยายน 2457 และทรงแต่งตั้ง นายอาร์ ซี อาร์ วิล สัน เป็นเจ้ากรมทดน้ำ
จนในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้มีพระราชดำริว่า หน้าที่ของกรมทดน้ำมิได้ปฏิบัติงานอยู่เฉพาะแต่การทดน้ำเพียงอย่างเดียว งานที่กรมทดน้ำปฏิบัติอยู่จริงในขณะนั้นมีทั้งการขุดคลอง การทดน้ำ รวมทั้งการส่งน้ำตามคลองต่างๆ อีกทั้งการสูบน้ำเพื่อช่วยเหลือการเพาะปลูก จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เปลี่ยนชื่อจาก กรมทดน้ำ เป็น กรมชลประทาน เมื่อวันที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2470 โดยให้มีหน้าที่รับผิดชอบงานการขุดคลอง การทดน้ำ การส่งน้ำ และการสูบน้ำช่วยเหลือพื้นที่เพาะปลูกอย่างทั่วถึง

อำนาจและหน้าที่

  1. เป็นหน่วยงานหลักในการพัฒนาแหล่งน้ำตามศักยภาพของลุ่มน้ำให้เพียงพอ
  2. จัดการน้ำให้กับผู้ใช้น้ำทุกประเภทอย่างทั่วถึง เป็นธรรม และยั่งยืน
  3. เสริมสร้างให้ประชาชนมีส่วนร่วม เพื่อให้การและบริหารจัดการน้ำ ทุกระดับอย่างบูรณาการ
  4. ดำเนินการป้องกันและบรรเทาภัยทางน้ำ

หน่วยงานในสังกัด

โครงสร้างและหน่วยงานในสังกัดกรมชลประทาน แบ่งส่วนราชการตาม กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการกรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พ.ศ. 2557 [3] ดังนี้

แนะนำการสอบ

คำแนะนำในการสอบกรมชลประทาน
การเตรียมตัวสอบ
ในการสอบบรรจุรับราชการของกรมชลประทาน จะต้องเป็นผู้สอบผ่านภาค ก. ของ ก.พ. ผู้เข้าสอบควรเตรียมตัวมาอย่างดี  อ่านวิชาเฉพาะตำแหน่งให้มากๆ ควรอ่านหนังสือเพื่อเตรียมตัวเข้ารับการสอบสัมภาษณ์  และควรจัดตารางในการอ่านหนังสือ เพื่อทบทวน ทำความเข้าใจเกี่ยวกับวิชาเฉพาะตำแหน่งให้มากๆ
การสอบเข้ากรมชลประทานจะมีการประเมินสมรรถนะอยู่  2  ครั้ง   คือ  ครั้งที่  1  โดยการสอบข้อเขียน   ครั้งที่  2  โดยการสัมภาษณ์  และจะต้องผ่านการประเมินสมรรถนะครั้งที่ 1 โดยวิธีการสอบข้อเขียนก่อนและเมื่อผ่านการประเมินสรรถนะครั้งที่ 1 แล้ว จึงจะมีสิทธิ์เข้ารับการประเมินสมรรถนะครั้งที่  2 โดยวิธีสอบสัมภาษณ์  ทั้งนี้จะต้องได้คะแนนสอบข้อเขียนไม่ต่ำกว่าร้อยละ  60
เนื้อหาความรู้ที่ออกสอบของกรมชลประทาน ได้แก่  ความรู้เกี่ยวกับหน่วยงานด้วย  เช่น ประวัติ วิสัยทัศน์  พันธกิจ ค่านิยม ผู้บริหาร หน้าที่ความรับผิดชอบ  โดยการหาข้อมูลจากอินเตอร์เน็ต
ส่วนข้อสอบ จะออกตรงตามที่ประกาศสอบ  ผู้เข้าสอบต้องอ่านหนังสือมาให้มากๆรับรองทำข้อสอบได้แน่นอน เพราะข้อสอบไม่ยาก  ออกไม่ลึก แต่จะออกตรงๆ
ส่วนในการสอบสัมภาษณ์เป็นการสอบด้วยการสนทนาหรือพูดคุยกัน ดังนั้นผู้เข้าสอบควรจะทบทวนเตรียมความรู้หรือข้อมูลในส่วนที่เป็นวิชาการหรือเนื้อหาต่าง ๆ       ที่ได้เตรียมไว้แล้วในการเตรียมตัวเข้าสอบข้อเขียน   ซึ่งอาจจะใช้เวลาครั้งละ 10 – 30 นาที   แล้วแต่กรณี หรืออาจกล่าวอีกนัยหนึ่งว่า การเตรียมตัวเข้ารับการสอบสัมภาษณ์จำเป็นต้องทบทวนความรู้ และข้อมูลบางประการมิใช่เข้าสอบโดยมิได้ทบทวนความรู้หรือข้อมูลอะไรเลย  และในการสัมภาษณ์ควรทำใจให้สบาย ตอบคำถามแบบธรรมขาติ เป็นตัวของตัวเอง  โดยส่วนใหญ่กรรมการจะถามคำถามต่อไปนี้ คือ 1. ให้แนะนำตัวเอง   2.เหตุผลในการตัดสินใจเข้ารับราชการ   3. เล่าถึงประสบการณ์ในการทำงาน
การสอบสัมภาษณ์ สำหรับผู้ชายควรโกนหนวดเคราให้เรียบร้อย ผู้หญิงเสื้อผ้าหน้าผมต้องเยี่ยม แนะนำให้สวมสูทด้วยจะดูดีมีระดับ แต่ไม่ควรแต่งหน้าแบบงานรับปริญญาเป็นเจ้าป้าโดยเด็ดขาด  คำถามที่จะโดนถาม ส่วนใหญ่จะเป็นประมาณ ตำแหน่งนี้ทำหน้าที่อะไร ความรู้เกี่ยวกับตำแหน่ง ความรู้เกี่ยวกับกรมฯ ประวัติส่วนตัว ประวัติการทำงาน รอบแห่งการสอบภาค ค. หรือรอบความเหมาะสมกับตำแหน่ง เป็นรอบที่ต้อง อาศัยกำลังภายใน รอบนี้ต่างหาก ที่ต้องระมัดระวังบรรดา เด็กเส้น เด็กฝากทั้งหลาย เป็นรอบแห่งการวิ่งเข้าหาผู้มีบุญหนักศักดิ์ใหญ่ ในกระทรวง กรม กอง ต้องรีบนำกระเช้าของขวัญติดไม้ติดมือ ไปกราบไหว้ท่านโดยด่วน ให้ท่านเอ็นดู อุปการคุณ  เนื่องจากคะแนนสอบในภาคนี้ มีประมาณกึ่งหนึ่งของคะแนนข้อเขียน และค่อนข้างมีผลชี้เป็น ชี้ตาย ชี้ได้ ชี้ไม่ได้   วันประกาศผลจะเรียงคะแนนตามลำดับมากไปหาน้อย ต้องรอลุ้นอย่างระทึกใจ ทั้งนี้ในประกาศรับสมัครจะบอกว่ารับจำนวนเท่าใด หากติดลำดับที่เรียกบรรจุในครั้งแรก จะมีหนังสือเรียกตัวไปบรรจุ แต่หากไม่ได้รับการบรรจุในรอบแรก ต้องคอยติดต่อข่าวสารอย่างตลอด บัญชีการสอบแข่งขันจะมีอายุประมาณ 2 ปี  กรณีได้การบรรจุในรอบแรก ต้องเตรียมหลักฐานทั้งตัวจริงและสำเนาไปให้พร้อม อันจะได้แก่ ใบรับรองแพทย์ ใบปริญญาบัตร ใบแสดงผลการเรียน ใบทะเบียนสมรส ทั้งคู่สมรส และของบิดา มารดา ขั้นตอนการบรรจุ จะต้องกรอกเอกสาร กพ.7 ซึ่งเปรียบเสมือนทะเบียนประวัติของตัวเราเอง ในวันนั้นอาจจะมีการปฐมนิเทศ ภารกิจของกรมฯ สิทธิผลประโยชน์ที่พึงได้ สวัสดิการ ค่ารักษาพยาบาล ค่าเล่าเรียนบุตร การทดลองราชการ ระเบียบการลา ฯลฯ

วิชาที่ใช้สอบ   มีดังนี้คือ
1. ความรู้ความสามารถเฉพาะตำแหน่ง  ( 200  คะแนน )
2. การสอบสัมภาษณ์   ( 100  คะแนน )  เป็นการประเมินบุคคลเพื่อพิจารณาความเหมาะสมกับตำแหน่งหน้าที่จากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา  ประวัติการทำงาน จากการสังเกตพฤติกรรมที่ปรากฏของผู้เข้ารับการคัดเลือกและจากการสัมภาษณ์

รายละเอียดวิชาที่สอบ
1 ความรู้เกี่ยวกับกรมชลประทาน
2 แนวข้อสอบเกี่ยวกับกรมชลประทาน
3 กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการกรมชลประทาน
4 แนวข้อสอบระเบียบกรมชลประทานว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของราชการ

ตำแหน่งที่สอบ
เจ้าพนักงานจัดหาที่ดิน
เจ้าพนักงานธุรการ
เจ้าพนักงานพัสดุ
เจ้าพนักงานอุทกวิทยา
นักวิชาการแผนที่และภาพถ่าย
นายช่างเขียนแบบ
นายช่างเครื่องกล
นายช่างชลประทาน
นายช่างไฟฟ้า
นายช่างไฟฟ้าสื่อสาร
นายช่างภาพ
นายช่างโยธา
นายช่างสำรวจ
นิติกร
พนักงานขับเครื่องจักรกลขนาดเบา
วิศวกรชลประทาน
วิศวกรโยธา
 เศรษฐกร
สถาปนิก
นักวิชาการแผนที่และภาพถ่าย